การเรียนการสอน
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาเลือกหน่วยที่จะนำมาสอนเด็กปฐมวัย
โดยจะต้องเป็นหน่วยที่ใกล้ตัวเด็กที่สุด หรือไม่ก็อาจเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ
ชีวิตประจำวันของตัวเด็ก
หน่วยบูรณาการในความหมายของหน่วยบูรณาการโดยทั่วไป
หมายถึง
การจัดนำเนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่หลากหลายสาขาวิชามากำหนดภายใต้หัวข้อเรื่อง (Theme) มโนทัศน์ (Concept)
หรือปัญหา (Problem) ที่เกี่ยวข้องกันและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
ซึ่งเป็นการผสมผสานอย่างกลมกลืนและสมดุล
นำไปสู่การจัดกิจกรรมที่หลากหลายทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสาระที่ควรเรียนรู้
ได้รับประสบการณ์สำคัญ
ทำให้เกิดการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาทั้งด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ
หน่วยการเรียนรู้ระดับการศึกษาปฐมวัย
การจัดหน่วยการเรียนรู้ระดับการศึกษาปฐมวัยนั้นจะกำหนดให้สอดคล้องตามสาระและประสบการณ์สำคัญที่เสนอไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 ดังนี้
1. 1. ตัวเด็ก 1. ด้านร่างกาย
- ร่างกายและการดูแล – การทำงาน ประสานสัมพันธ์การเคลื่อนไหว
- ประสาทสัมผัส การทรงตัว กล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อใหญ่
- สุขนิสัย ความปลอดภัย – การรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย
- การช่วยเหลือตนเอง – สุขนิสัย
- การแสดงความคิด – อนามัยส่วนตัว
- ความรู้สึก มารยาท – อนามัยส่วนรวม
- การอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2. ด้านอารมณ์ จิตใจ
2. บุคคลและสถานที่แวดล้อม – สุขภาพจิต
- ครอบครัว บุคคลใกล้ชิด – สุนทรียภาพ
- ชุมชน – คุณธรรมพื้นฐาน
- สถานศึกษา – จริยธรรม
- วันสำคัญ – การแสดงออกทางอารมณ์
- อาชีพ 3. ด้านสังคม
- สถานที่ในสิ่งแวดล้อม – การช่วยเหลือตนเอง
- วัฒนธรรม, ประเพณี – การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
- ประวัติความเป็นมาของชุมชน – รักความเป็นไทย
- เรื่องราวท้องถิ่น – ความพอเพียง
3. ธรรมชาติรอบตัว – อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- สิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต – ทักษะพื้นฐานชีวิต
- ปรากฏการณ์ธรรมชาติ 4. ด้านสติปัญญา
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ – คิดแก้ปัญหา
- การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม – คิดสร้างสรรค์
4. สิ่งต่าง ๆ รอบตัว – ใฝ่เรียนรู้
- อาหาร, น้ำ, อากาศ – ใช้ภาษาในการสื่อสาร
- เครื่องมือเครื่องใช้ – ทักษะพื้นฐานการเรียน
- การติดต่อสื่อสาร
- การเดินทางขนส่ง
- คณิต, วิทย์ในชีวิตประจำวัน
- ประสาทสัมผัส การทรงตัว กล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อใหญ่
- สุขนิสัย ความปลอดภัย – การรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย
- การช่วยเหลือตนเอง – สุขนิสัย
- การแสดงความคิด – อนามัยส่วนตัว
- ความรู้สึก มารยาท – อนามัยส่วนรวม
- การอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2. ด้านอารมณ์ จิตใจ
2. บุคคลและสถานที่แวดล้อม – สุขภาพจิต
- ครอบครัว บุคคลใกล้ชิด – สุนทรียภาพ
- ชุมชน – คุณธรรมพื้นฐาน
- สถานศึกษา – จริยธรรม
- วันสำคัญ – การแสดงออกทางอารมณ์
- อาชีพ 3. ด้านสังคม
- สถานที่ในสิ่งแวดล้อม – การช่วยเหลือตนเอง
- วัฒนธรรม, ประเพณี – การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
- ประวัติความเป็นมาของชุมชน – รักความเป็นไทย
- เรื่องราวท้องถิ่น – ความพอเพียง
3. ธรรมชาติรอบตัว – อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- สิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต – ทักษะพื้นฐานชีวิต
- ปรากฏการณ์ธรรมชาติ 4. ด้านสติปัญญา
- สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ – คิดแก้ปัญหา
- การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม – คิดสร้างสรรค์
4. สิ่งต่าง ๆ รอบตัว – ใฝ่เรียนรู้
- อาหาร, น้ำ, อากาศ – ใช้ภาษาในการสื่อสาร
- เครื่องมือเครื่องใช้ – ทักษะพื้นฐานการเรียน
- การติดต่อสื่อสาร
- การเดินทางขนส่ง
- คณิต, วิทย์ในชีวิตประจำวัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น